Thread Rating:
  • 0 Vote(s) - 0 Average
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
TAKAMINE FACTORY
Author Message
junchiko Offline
Junior member
**

Posts: 2
Likes Given: 0
Likes Received: 0 in 0 posts
Joined: 06 Oct 2009
Reputation: 0
#1
TAKAMINE FACTORY
TAKAMINE FACTORY
อัจฉริยะเกิดจากแรงบันดาลใจเพียง 1 เปอร์เซ็นต์ และอีก 99 เปอร์เซ็นต์คือความอุตสาหะ
06-10-2009, 20:29
Find Like Post Reply
junchiko Offline
Junior member
**

Posts: 2
Likes Given: 0
Likes Received: 0 in 0 posts
Joined: 06 Oct 2009
Reputation: 0
#2
RE: TAKAMINE FACTORY
TAKAMINE FACTORY ทัวร์โรงงาน

Takamine Mountain in front
[Image: p1.jpg]
+Takamine Gakki Co.,LTD
+ โรงงานใหม่ตั้งอยู่ที่ เมือง Sakashita ประเทศญี่ปุ่น
+ ก่อตั้งบริษัทตั้งแต่ปี ค.ศ 1962 เป็นเวลากว่า 40 ปี ในการทำกีต้าร์
+ คนงานทั้งหมด 94 คน 68 คน + 4 part time ในการผลิต
+ และอีก 7คน สำหรับ วิจัยและ และออฟฟิช
+ กำลังการผลิต 90 ชิ้นต่อวัน
+ ส่งขายทั่วโลก 22,500 ชิ้นในปี 2005 สู่ 56 ประเทศ (20% ของยอดผลิต ขายในประเทศ)

ENTIRE BUILDING
[Image: p2.jpg]

+ พื้นที่ทั้งหมดของโรงงานใหม่มีขนาดใหญ่ถึง 16,500 ตารางเมตร (4 acre)

6,612 square meters
[Image: p3.jpg]

+ พื้นที่โรงงาน มีขนาดใหญ่ถึง 6,600 ตารางเมตร(ใหญ่กว่า 3 เท่าตัวของโรงงานเก่า)
+ ในส่วนของโรงงาน ประกอบไปด้วยวัตถุดิบ, เครื่องตัดลาย Laser และเครื่อง CNC ตั้งอยู่อีกที่หนึ่งในเมือง Sakashita .

There are the historical old remains in backyard
[Image: p4.jpg]

+ ในสวนหลังโรงงานได้เป้นที่ตั้งสิ่งที่ลำลึกถึงการก่อตั้ง Takamine
ไม้เหล่านี้มีอายุ ถึง 1500 ปี


Very clean and quiet inside
[Image: p5.jpg]

+ เงียบสงบและ สะอาด ปราศจากมลภาวะ
+ ประกอบไปด้วย สต็อกวัตถุดิบ และ ห้องฤดูกาล ที่ควบคุมอุณหภูมิ อย่างธรรมชาติ
+ สต็อกไม้จะถูก เก็บเพื่อปรับสภาพในห้องฤดูกาล เป็นเวลา 1-3 ปี
+ ไม้ Spruce ส่วนหน้า จำนวนประมาณ15,000 ชุด
+ ไม้ Cedar ส่วนหน้า จำนวนประมาณ 30,000 ชุด
+ ไม้ sapeli ส่วนหลัง จำนวนประมาณ 8,000 ชุด
+ ไม้ Rosewood ส่วนหลัง จำนวนประมาณ 10,000 ชุด
+ ไม้ Mahogany ประมาณ 5,000 - 8,000 ชุด

Also clean for the environment
[Image: p6.jpg]

+ สะอาดด้วยมาตราฐานการขจัดมลภาวะ และ ระบบสาธารณูประโภคที่มีมาตราฐานสูง

Underground Heating System has been introduced into the entire of the building
[Image: p7.jpg]

+ ระบบปรับอุณหภูมิใต้ดินได้ถุกนำมาติดตั้ง ในทุกจุดของตัวโรงงาน

Controled humidity & temperature Inside
[Image: p8.jpg]

+ เพื่อควบคุมความชื้นสัมพัส และ อุณหภูมิ ที่เหมาะสมกับไม้
Heating room
[Image: p9.jpg]

+ ห้องทำความร้อนด้วยระบบ ไอน้ำพิเศษ อณุหภูมิในห้องนี้ประมาณ 42 Degree
มวลความชื้นสัมพัส เพียง 4%

Seasoning Room
[Image: p10.jpg]

+ โดยทั่วไปแล้ว อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัสในห้องนี้จะมา จากอากาศภายนอก และปรับแต่อุณหภูมิในห้องนี้ด้วยแรงลม
+ ซึ่งการปรับอุณหภูมิในห้องนี้จะขึ้นอยู่กับฤดูกาล เพื่อ ให้ไม้มีความเสถียรในการยืดหยุ่นตามสภาวะอากาศ

Air-conditioning rooms
[Image: p11.jpg]

+ ห้องปรับสภาพอากาศ สำหรับวัตถุดิบ ที่เป็นลักษณะไม้แผ่นเดียว

Wide Sanding Machine
[Image: p12.jpg]

+ ลดความหนาของแผ่นไม้ประมาณด้านหน้าประมาณ 3.0mm และ 2.0 สำหรับด้านข้างและด้านหลัง
+ ขนาดความหนาที่พอดีมีผลต่อเสียงโดยรวม หากหนาไปเสียงกีต้าร์ก็จะทึบ หากบางไปเสียงก็จะบางไร้พลัง
+ ทาคามิเน๊ะได้ให้ความสำคัญในสิ่งนี้เพื่อที่จะให้เสียงที่ออกมามีพลัง และ หวานเป็นธรรมชาติ


Joint
[Image: p13.jpg]

+ ขั้นตอนการประกอบไม้

Joint
[Image: p14.jpg]

+ ขั้นตอนการประกอบไม้

Top Cutting
[Image: p15.jpg]


+ การตัดไม้ด้านหน้า

Side Cutting
[Image: p16.jpg]

+ การตัดไม้ด้านข้าง

Rosette Process
[Image: p17.jpg]

+ การประกอบ Rossette
b]Laser Cut & Handcraft skill[/b]
[Image: p63.jpg]

+ Rossette ของ กีต้าร์รุ่น Collector's ปี 2002 และ 2006
+ ลาย Rossette นี้ได้ถูกประกอบจากไม้หลากชนิด ที่ถูกตัดแบ่งโดยแสงเลเซอร์
+ ทาคามิเน๊ะได้นำเทคโนโลยีแสงเลเซอร์ มาเพื่อการตัดไม้
+ เนื่องจาก คุณสมบัติของเลเซอร์จะทำให้ไม้ที่ตัดออกมามีความเรียบเนียน
+ สิ่งที่ขาดไม่ได้คือ งานฝีมือที่ปราณีตในการประกอบชิ้นไม้เหล่านี้


Laser Cut & Handcrafte skill
[Image: p64.jpg]

+ Rossette ของ กีต้าร์รุ่น Collector's
+ ลาย Rossette นี้ได้ถูกประกอบจากไม้หลากชนิด ที่ถูกตัดแบ่งโดยแสงเลเซอร์
+ทาคามิเน๊ะได้นำเทคโนโลยีแสงเลเซอร์ มาเพื่อการตัดไม้
+เนื่องจาก คุณสมบัติของเลเซอร์จะทำให้ไม้ที่ตัดออกมามีความเรียบเนียน
+สิ่งที่ขาดไม่ได้คือ งานฝีมือที่ปราณีตในการประกอบชิ้นไม้เหล่านี้

Laser Cut & Handcrafte skill
[Image: p65.jpg]

+ Rossette ของ กีต้าร์รุ่น Collector's
+ ลาย Rossette นี้ได้ถูกประกอบจากไม้หลากชนิด ที่ถูกตัดแบ่งโดยแสงเลเซอร์
+ ทาคามิเน๊ะได้นำเทคโนโลยีแสงเลเซอร์ มาเพื่อการตัดไม้
+ เนื่องจาก คุณสมบัติของเลเซอร์จะทำให้ไม้ที่ตัดออกมามีความเรียบเนียน
+ สิ่งที่ขาดไม่ได้คือ งานฝีมือที่ปราณีตในการประกอบชิ้นไม้เหล่านี้

Neck Fingerboard Binding
[Image: p18.jpg]

+ การประกอบ Fingerboard


Fingerboard Binding
[Image: p19.jpg]

+ การ ประดับขอบคอกีต้าร์

Headstock
[Image: p20.jpg]

+ การประดับ หัวกีต้าร์ด้วยงานฝีมือแกะสลัก

Solid Body Side
[Image: p21.jpg]

+ การเข้ารูปไม้ Solid ด้านข้างด้วยวัสดุ และเครื่องมือที่ยืดหยุ่น ในการดัดไม้ให้เข้ารูป


Body Side & Inner lining
[Image: p22.jpg]

+ วางตำแหน่งเพื่อเตรียมการประกอบ

Bracing Scallop
[Image: p23.jpg]

+ ทำการแกะสลักด้วยมือมนุษย์ Handmade โครงสร้างแบบ Scallop
Bracing Scallop
[Image: p24.jpg]

+ โครงสร้างของ Scallop ได้ถูกทำขึ้นจากไม้ที่แกะสลักด้วยมือเป็นชิ้นหลากหลายขนาด
+เพื่อทำให้ทางวิ่งของเสียงไปในทิศทางที่ถูกต้อง และแม่นยำ
+ รูปด้านขวา
+ อุปกรณ์การขึ้นรูปและล็อกโครงสร้างให้ไม่เปลี่ยนรูป เมื่อเจอภาวะอากาศที่แตกต่าง
+ หลังจากนั้นโครงสร้างจะถูกติดกับไม้แผ่นหน้าด้วยอณุหภูมิที่ 50 Degree


Bracing Pattern
[Image: p25.jpg]

+ รูปด้านซ้าย โครงสร้างแบบ Scalloped X pattern สำหรับกีต้าร์โปร่ง
+ รูปด้านขวา โครงสร้างสำหรับกีต้าร์ Bass แบบ F-hole Design

Making Body Process
[Image: p26.jpg]

+ ขั้นตอนการประกอบลำตัว

[Image: p27.jpg]

+ ไม้ด้านข้างที่ถูกขึ้นรูปโดยสมบูรณ์แล้ว


Disc Sanding Machine
[Image: p28.jpg]

+ ทำให้ลำตัวด้านหน้ากีต้าร์ และ ส่วนหลัง มีความโค้งมลเป็นเนื้อเดียวกัน

Top&Back bonding
[Image: p29.jpg]

+ การประกอบไม้ส่วนหน้า ลงบน ไม้ด้านข้างและหลัง

[Image: p30.jpg]

+ ลำตัวที่เร็จสมบูรณ์แล้ว


Binding round the body
[Image: p31.jpg]

+ ทำการประดับขอบกีต้าร์ เพื่อความสวยงาม
Body sanding process
[Image: p32.jpg]

+ เครื่องขัดลำตัว

[Image: p33.jpg]

+ ลำตัวที่ถูกขัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว


Neck Joint Process
[Image: p34.jpg]

+ ขั้นตอนในการต่อส่วนลำคอ

[Image: p35.jpg]

+ ด้านซ้าย ทำล็อคสำหรับเข้าคอ
+ ด้านขวา คอที่ถูกขึ้นรูปแล้ว

Neck Bonding
[Image: p36.jpg]

+ ประกอบส่วนคอ


Two way trussrod & steel reinforcement
[Image: p37.jpg]

+ ระบบ Two way trussrod กับ แกนเหล็กปรับระดับคอแบบคู่ ให้ความแข็งแรงทนทาน
+ ระบบนี้ช่วยให้การทำคอมีลักษณะที่บางขึ้น เป็นแบบ Modified "C" shape
+ ซึ่งรูปแบบคอนี้ สดวกต่อการเล่น Barr Chords และการเล่น Picking

Fingerboard Bonding
[Image: p38.jpg]

+ ภาพลำตัวกีต้าร์ที่ติดตั้ง Fingerboard และส่วนคอลงไปยังกีต้าร์

[Image: p39.jpg]

+ ช่างกำลังทำการติดตั้ง Fingerboard และส่วนคอลงไปยังลำตัวกีต้าร์


Collect Details
[Image: p40.jpg]

+ เก็บรายละเอียดเพื่อให้ไม่ทุกส่วนมีความราบเรียบเเป็นเนื้อเดียวกัน
Painting Process
[Image: p41.jpg]

+ ขั้นตอนในการ พ่นสีกีต้าร์ในห้องพ่นพิเศษ

Takamine Head Logo
[Image: p42.jpg]

+ ติดตั้งโลโก้ ทาคามิเน๊ะ โดยช่างฝีมือ


Polyester spray
[Image: p43.jpg]

+ ช่างทำการพ่นสารโพลีเยสเตอร์ เพื่อกันรอยขีดข่วน และช่วยให้กีต้าร์มีความเงางาม

Belt Sanding Machine
[Image: p44.jpg]

+ ช่างกำลังขัดกีต้าร์ด้วยสายพานขัดเรียบ

[Image: p45.jpg]

+ สต็อกกีต้าร์ที่ผ่านการพ่นสารโพลีเยสเตอร์ และขัดเรียบเพื่อรอการประกอบ ในขั้นตอนต่อไป


Collect Painting details
[Image: p46.jpg]

+ เก็บรายละเอียดของงานสีอีกครั้ง เพื่อความปราณีต

Water Sanding
[Image: p47.jpg]

+ ช่างทำการขัดกีต้าร์ ด้วยกระดาษทรายน้ำละเอียด เพื่อความเงางาม

Buffing Machine
[Image: p48.jpg]

+ นำลำตัวกีต้าร์เข้าเครื่องปัดเงาอีกครั้ง


Buffing
[Image: p49.jpg]

+ ช่างทำการปัดเงากีต้าร์อีกครั้ง เพื่อเก็บรายละเอียด และตรวจเช็คด้วยสายตามนุษย์

Automatic Fingerboard Sanding Machine
[Image: p50.jpg]


+ เครื่อง Fingerboard อัตโนมัติ ควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ สมองกล
+ ทำให้ Fingerboard มีความเรียบเสมอกันอย่างสมบูรณ์ ซึ่งง่ายต่อการกด เฟร็ต
+ ยังผลให้ เสียงที่ออกมายามเล่นมีความ เที่ยงตรง และระยะการตั้งสายมีความสมบูรณ์
[Image: p51.jpg]

+ ในภาพแสดงถึงขั้นตอนการทำงาน ของเครื่องเมื่อกำลังทำการขัด Fingerboard
+ เครื่องจะทำการกำหนดตำแหน่งด้วยแสงเลเซอร์ 3 จุด เพื่อปรับระดับ Fingerboard ในแนวเดียวกัน


Fretting By Hands
[Image: p52.jpg]

+ ช่างผู้ชำนาญการกำลังทำการติดตั้งเฟร็ต ลงบน Fingerbaord อย่างปราณีตบรรจง

Hole for the pickups under the bridge
[Image: p53.jpg]

+ เจาะช่องสำหรับติดตั้ง Pick up ภายใต้ Bridge (สะพานรองสาย)

Glued Bridge with Epoxy
[Image: p54.jpg]

+ ติดตั้ง Bridge ด้วย Epoxy


Nut
[Image: p55.jpg]

+ ซ้าย ช่างกำลังทำการสวม Nut ลงบนส่วนหัวของกีต้าร์ ทาคามิเน๊ะ
+ ขวา หลังจากนั้น นำกีต้าร์เข้าเครื่องกดเพื่อให้ Nut ติดแน่นกับ กีต้าร์

Electronic Parts
[Image: p56.jpg]

+ ซ้าย ทำการเจาะช่องเพื่อติดตั้งระบบ Pre-amp
+ ขวา ช่างทำการสวม Pre-amp ลงบนตัวกีต้าร์

Palathetic Pickup
[Image: p57.jpg]

+ ติดตั้งระบบ Pathelatic Pick up (มีผลึกคริสตัล อิสระในแต่ละสายเพื่อนำเสียง)
+ ในขั้นตอนต่อจากนี้ช่างจะทำการห่อหุ้ม ผ้าบนตัวกีต้าร์เพื่อกันรอยขีดข่วน
Machine Head | Put the Strings | Saddle
[Image: p58.jpg]

+ ซ้าย -กลาง ช่างผู้หญิงกำลังใส่ลูกบิดกีต้าร์ และทำการร้อยสายกีต้าร์ ซึ่งเป็นงานที่ละเอียดอ่อน
+ ขวา ช่างกำลังทำการติดตั้ง Saddle ซึ่งเป้นขั้นตอนสุดท้ายในการประกอบ

Final Inspection
[Image: p59.jpg]

+ กีต้าร์ทุกตัวจะถูกทดสอบ จากนักดนตรีผู้เชียวชาญ เพื่อให้แน่ใจว่ากีต้าร์ทุกตัวจะมาตราฐานที่สูงสุด

Completed
[Image: p60.jpg]

+ กีต้าร์ถูกเรียงไว้ในห้องสต็อกเพื่อเตรียมจัดส่งไปยังทั่วโลก
+ กับมาตราฐาน และความปราณีตใส่ใจจากช่างฝิมือชาวญี่ปุ่น ผู้มากด้วยประสบการณ์

AKAMINE ARTISTS

[Image: p61.jpg]

+ ด้วยความปราณีต และ บรรจงกับความรับผิดชอบในทุกรายะละเอียดของกีต้าร์
+ กับประสบการณ์ที่มากล้น ของช่างฝีมือชาวญี่ปุ่นที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น
+ ทำให้นักดนตรี ทั่วทุกมุมโลกได้ให้ความไว้วางใจในกีต้าร์ทาคามิเน๊ะ


[Image: p62.jpg]

+และนี่คืออีกก้าวของการพัฒนาของกีต้าร์ ที่เป็นที่ยอมรับจากคนทุกมุมโลกมากกว่า 40 ปี



ปล. ขอขอบพระคุณ เว็ปบ้านเพื่อน เห้ย....เว็ปเพื่อนบ้าน
อัจฉริยะเกิดจากแรงบันดาลใจเพียง 1 เปอร์เซ็นต์ และอีก 99 เปอร์เซ็นต์คือความอุตสาหะ
(This post was last modified: 06-10-2009, 21:26 by junchiko.)
06-10-2009, 21:22
Find Like Post Reply
SARUN Offline
Very Imperfect People
******

Posts: 4,016
Likes Given: 176
Likes Received: 64 in 48 posts
Joined: 29 Aug 2007
Reputation: 53
#3
RE: TAKAMINE FACTORY
[Image: applause02bd7.gif][Image: applause04wn6.gif][Image: applause05na9.gif][Image: applause05na9.gif]
*?*?,
?,,?*?*?
?*?,,?*?*?
?
?

@_@~??"If I leave here tomorrow" ...Sad ??~@_@
06-10-2009, 21:43
Find Like Post Reply
เอก Offline
Member
***

Posts: 107
Likes Given: 0
Likes Received: 0 in 0 posts
Joined: 24 Dec 2008
Reputation: 0
#4
RE: TAKAMINE FACTORY
ขอบคุณครับ
06-10-2009, 21:43
Find Like Post Reply
sunday Offline
Member
***

Posts: 55
Likes Given: 0
Likes Received: 0 in 0 posts
Joined: 16 Aug 2009
Reputation: 0
#5
RE: TAKAMINE FACTORY
ขอบคุน ครับ
ครั้งนึง คิดว่า "นักกีต้าร์ที่ขาด pick ก้อเหมือนจอม ยุทธ์ ไร้กระบี่"
แต่เดียวนี้ " จอมยุทธ์ที่ไร้กระบี่ ก้อมี finger style เป็นเหมือนกำลังภายใน"
06-10-2009, 22:49
Find Like Post Reply
Katayoot Offline
กระทู้ล่ม ขอรับผิดชอบเหตุการณ์นี้เอง
******

Posts: 3,293
Likes Given: 145
Likes Received: 47 in 35 posts
Joined: 30 Aug 2007
Reputation: 36
#6
RE: TAKAMINE FACTORY
เห็นแล้วคิดฮอด NNG ....
07-10-2009, 06:43
Find Like Post Reply
Tai Labour Offline
ป๊อก8 2 เด้ง
******

Posts: 3,576
Likes Given: 47
Likes Received: 38 in 29 posts
Joined: 28 Aug 2007
Reputation: 38
#7
RE: TAKAMINE FACTORY
ดูเพลินเลยครับ ชอบ ๆ ๆ ขอบคุณครับ

เห็นแล้วอยากไปเปิดโรงงาน "ไทยเดินเล่น" อยู่ข้างๆ ทากามิเนะ(จัง)Big Grin
============ เพื่อความบันเทิง =============

07-10-2009, 10:05
Website Find Like Post Reply
boobyblue Offline
ใครไม่รู้?
******

Posts: 2,478
Likes Given: 11
Likes Received: 23 in 9 posts
Joined: 28 Aug 2007
Reputation: 27
#8
RE: TAKAMINE FACTORY
มาโพตสอย่างนี้ต้องสั่งย้ายด่วน!!!
อยู่หน้านี้เดี๋ยวก็หายหาไม่เจอ
อย่างนี้ต้องย้ายครับ..
(แล้วมันธุระอะไรของผมเล่า?)

ว่าแต่ว่าแล้วไงต่อ?
07-10-2009, 11:08
Find Like Post Reply
ยอดเยี่ยม Offline
ลักเมา
******

Posts: 2,025
Likes Given: 116
Likes Received: 85 in 65 posts
Joined: 21 Sep 2007
Reputation: 29
#9
RE: TAKAMINE FACTORY
น้าป๋อดูจนตาแฉะแล้ว เพราะได้รับแจก VCD ชุดนี้มาเมื่อ 2 ปีก่อน
ให้แกเล่าทุกซอกทุกมุมของโรงงานยังได้..อีโด่ Cool
*** ตัวที่ใช่ ไซส์ที่ชอบ ***
07-10-2009, 12:34
Find Like Post Reply
nit gt Offline
VIP member
******

Posts: 1,690
Likes Given: 1
Likes Received: 13 in 7 posts
Joined: 28 Aug 2007
Reputation: 30
#10
RE: TAKAMINE FACTORY
เยี่ยมยอด ครับ ....
07-10-2009, 13:22
Find Like Post Reply


Forum Jump:


Users browsing this thread: 1 Guest(s)

Contact Us | NimitGuitar | Return to Top | | Lite (Archive) Mode | RSS Syndication