NimitGuitar webboard

Full Version: ขอร์ด / คอร์ด
You're currently viewing a stripped down version of our content. View the full version with proper formatting.
Pages: 1 2
เห็นทาง ราชบัณฑิต และนายกสมาคมครูภาษาไทยแห่งประเทศไทย จะจัดทำคำศัพท์ใหม่ๆ หนึ่งในนั้นจะเปลี่ยนจาก คอร์ด ไปเป็น ขอร์ด ด้วยนะครับ ดูแปลกๆดีครับ
ถ้าเส้นเลือดขอดต้องยันฮีครับ Big Grin

[Image: images?q=tbn:ANd9GcTAh6sxiem43ivD825DA3_...EssEmNQPug]
(04-10-2012, 22:06)Real Wrote: [ -> ]ถ้าเส้นเลือดขอดต้องยันฮีครับ Big Grin

อิ อิ
(04-10-2012, 23:33)Webmaster Wrote: [ -> ]
(04-10-2012, 22:06)Real Wrote: [ -> ]ถ้าเส้นเลือดขอดต้องยันฮีครับ Big Grin

อิ อิ

อุ อุ
(05-10-2012, 10:34)karn Wrote: [ -> ]
(04-10-2012, 23:33)Webmaster Wrote: [ -> ]
(04-10-2012, 22:06)Real Wrote: [ -> ]ถ้าเส้นเลือดขอดต้องยันฮีครับ Big Grin

อิ อิ

อุ อุ

อึ อึ
งั้นผมขออนุญาติเสนอเปลี่ยน ภูเก็ต เป็น ฟูเก็ต ด้วยครับ
ว่างมาก
(04-10-2012, 21:22)Webmaster Wrote: [ -> ]เห็นทาง ราชบัณฑิต และนายกสมาคมครูภาษาไทยแห่งประเทศไทย จะจัดทำคำศัพท์ใหม่ๆ หนึ่งในนั้นจะเปลี่ยนจาก คอร์ด ไปเป็น ขอร์ด ด้วยนะครับ ดูแปลกๆดีครับ

รู้สึกเหมือนไม่เคยชินอย่างไรก็ไม่รู้ครับน้า Web Sad
(05-10-2012, 17:26)surasakluang Wrote: [ -> ]งั้นผมขออนุญาติเสนอเปลี่ยน ภูเก็ต เป็น ฟูเก็ต ด้วยครับ

ตอนอยู่อเมริกาฝรั่งมักถามผมว่าเมืองไทยมีเกาะชื้อ "ฟัก-อิต (Phuket)" ด้วยหรือ

ความจริงแล้วทางราชบัณฑิตเขาก็เขียนถูกแล้วนะครับ ที่ผมสงสัยคือใครเป็นตนแรกที่เขียนผิดที่ดันเรียกขอร์ดว่าคอร์ดต่างหาก

ที่ผมว่าราชบันฑิตผิดก็ตรงที่เขาไม่ให้ใช้วรรณยุกต์ในการสะกดคำจากภาษาต่างประเทศ อย่างเช่น Guitar = กีตาร์ แบบนี้คนที่ไม่รู้ศัพท์ในภาษาเดิมไม่มีทางอ่านออกเสียงถูกแน่นอน ภาษาของเรามีตัวกำกับเสียงสูงต่ำแต่ทำไมไม่เอามาใช้
เนื่องจากคำภาษาไทยจะมีความหมายเปลี่ยนไปตามวรรณยุกต์ เช่น วาย ว่าย ว้าย แต่คำภาษาอังกฤษ Why
ไม่ว่าจะออกเสียงอย่างไร ยังคงมีความหมายเดิม แต่เสียงสูงต่ำจะสื่อถึงอารมณ์และลักษณะของประโยค บอกเล่า คำถาม
ดังนั้นการเขียนคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศ จะไม่มีวรรณยุกต์ โดยสะกดตามรากศัพท์เดิม
โดยมีเครื่องหมายทัณฑฆาต มาฆ่าเสียงที่ไม่ต้องการออกเสียง New York นิวยอร์ค นิวยอค ตัว r ถูกแทนที่ด้วย ร
แต่ไม่ออกเสียงจึงใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต มาฆ่าเสียง ร (ทัณฑฆาต ต่างจาก ตัวการันต์ อย่างไร)
(ยกเว้นคำที่มีเสียงซ้ำกับคำไทย จนทำให้เกิดความสับสน อาจใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ได้ เช่น โค้ก แก๊ส)


Chrome Chromatic Chord ในที่นี้แทนเสียง CH ด้วยตัว ค จึงเขียนว่า คอร์ด

( แต่ฝรั่งไม่ได้ออกเสียง CH ด้วยเสียง ค เสมอไป Chair Choice Chocolate ในที่นี้แทนเสียง CH ด้วยตัว ช )

ภาษาย่อมมีวิวัฒนาการของมัน(ยกเว้นภาษาละติน)หนังสือราชการสมัยเมื่อร้อยกว่าปีที่แล้ว เหนเปนอันมาก = เห็นเป็นอันมาก
สมัยนั้นยังไม่ใช้ ไม้ไต่คู้ เพื่อกระชับให้ออกเสียงสั้น อย่างคำว่า ทุเรศ ว่ากันว่ามีที่มาจากคำว่า too late
คำอังกฤษ พูดไปพูดมาจนเป็นที่นิยมเลยเป็นคำไทย แต่คำไทยแท้มันไม่ขลัง เลยสะกดด้วย ศ ให้คล้ายคำจากภาษาอินเดีย

ตอนเด็กๆผมเคยถามครูภาษาไทยว่า 11 ทำไมต้องอ่านว่า สิบเอ็ด ปรากฏว่าไม่เคยได้รับคำตอบ
จนเมื่อได้พูดคุยกับคนไต ที่เชียงตุง คนลื้อ ที่สิบสองปันนา ต่างก็พูดว่า สิบเอ็ด เหมือนกัน
สรุปว่าเป็นคำโบราณใช้กันมาตั้งแต่คนเผ่าไทยังไม่แบ่งแยกเป็น ไทย ลาว ไต ลื้อ ฯลฯ
แม้แต่เลข ๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐ นี่ก็ยืมเขมรมาใช้เหมือนกัน http://thephnompenhcambodia.com/cambodia...-language/

เดิมเราใช้ตัวอักษรสำหรับจดบันทึก ต่อมาใช้ส่งจดหมายสื่อสารกัน การโต้ตอบมันใช้เวลานาน แต่ตอนนี้เราใช้สื่อสารผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค
การโต้ตอบมันรวดเร็ว และบางครั้งยังต้องการสื่อถึงอารมณ์ในขณะนั้นอีก
ในอนาคตภาษาอินเตอร์เน็ตก็จะมีวิวัฒนาการของมันไปเรื่อยๆ ซึ่งผมไม่เห็นว่าแปลกอะไร เพราะมนุษย์คิดภาษาเพื่อมารับใช้เรา

สำหรับเรื่องแก้หรือไม่แก้ถ้าใช้หลักว่า คำที่ใช้กันจนเป็นที่นิยมจนเป็นคำไทยแล้ว ไม่ควรแก้ครับ และดีใจที่สรุปว่าตอนนี้เค้าไม่แก้แล้ว

http://www.royin.go.th/th/profile/index....uleKey=127
Pages: 1 2